เมื่อเวลา 10 .55 น. วันนี้ ( 5 ธ.ค.) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งจากโรงพยาบาลศิริราชไปยังพระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต ในพระราชพิธีศุภมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธ.ค.2555 ในการนี้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวมทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์โดยเสด็จด้วย
Water supply จำหน่าย ทรายกรองน้ำ ทรายกรองประปา ทรายอุตสาหกรรม ทรายพ่น ทรายกรองบ่อบำบัด กรวดกรองน้ำ สารกรองน้ำคาร์บอน ถ่านกะลามะพร้าว เรซิน แมงกานีส แอนทราไซด์ ถังกรองเหล็ก ถังกรองสแตนเลส เคมีภัณฑ์ สำหรับสะว่ายน้ำ คลอรีน และบริการเปลี่ยนทรายกรองน้ำ ล้างแท้งค์เก็บน้ำ ซ่อมระบบประปา ล้างแท้งค์สูงประปาหมู่บ้าน เปลี่ยนสารกรองน้ำโรงงานอุตสาหกรรม ล้างแท้งค์เก็บน้ำใต้ดินคอนโด โรงแรม รีสอร์ท สนามกอล์ฟ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย สถานที่ราชการทั่วประเทศ ใส่ใจในบริการ ทำงานด้วยความซื่อสัตย์
วันพุธที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555
Chlorine ประเภทของคลอรีน
คลอรีน (Cl2 ) เป็นธาตุที่อยู่ในกลุ่มฮาโลเจน (กลุ่มO) ในตารางธาตุ มีลักษณะเป็นก๊าช สีเหลืองแกมเขียว มีกลิ่นฉุน ไม่พบในธรรมชาติประวัติ
ค.ศ. 77 Pliny ชาวโรมันได้ทำการทดลองทางเคมีเพื่อแยกทองคำบริสุทธิ์ พบว่าเกิดจากสารไฮโดรเจนคลอไรด์ ( กรดเกลือซึ่งมีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ: HCI )
ค.ศ.720-810 Geber นักเคมีชาวอาหรับพบว่าเมื่อให้ความร้อนแก่กรดกัดทอง ( HNO3 1ส่วน ผสมกับ HCI 3 ส่วน) จะได้ก๊าซชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนแต่ไม่ทราบว่าเป็นก๊าซคลอรีน
ค.ศ. 1774 Karl W.Scheele นักเคมีชาวสวีเดน ได้รับเกียรติว่าเป็นคนแรกที่ค้นพบก๊าซคลอรีน โดยการเผาส่วนผสมของแมงกานีสไดออกไซค์ (MnO3 ) ) และกรด HCI ตามสมการ
ค.ศ. 77 Pliny ชาวโรมันได้ทำการทดลองทางเคมีเพื่อแยกทองคำบริสุทธิ์ พบว่าเกิดจากสารไฮโดรเจนคลอไรด์ ( กรดเกลือซึ่งมีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ: HCI )
ค.ศ.720-810 Geber นักเคมีชาวอาหรับพบว่าเมื่อให้ความร้อนแก่กรดกัดทอง ( HNO3 1ส่วน ผสมกับ HCI 3 ส่วน) จะได้ก๊าซชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนแต่ไม่ทราบว่าเป็นก๊าซคลอรีน
ค.ศ. 1774 Karl W.Scheele นักเคมีชาวสวีเดน ได้รับเกียรติว่าเป็นคนแรกที่ค้นพบก๊าซคลอรีน โดยการเผาส่วนผสมของแมงกานีสไดออกไซค์ (MnO3 ) ) และกรด HCI ตามสมการ
MnO3 + 4Hci MnCl2 + Cl2+2H2O
ค.ศ. 1814 Sir Humphry Davy ประกาศว่าก๊าซของ Scheele เป็นธาตุบริสุทธิ์ และให้ชื่อว่า chlorine ซึ่งมาจากภาษากรีก chloros ซึ่งมีความหมายว่า เหลืองแกมเขียว
ค.ศ. 1830 Michsel Faraday ผลิตและแยกคลอรีนได้จากระบวนการไฟฟ้าเคมีElectrolytic Cell
ค.ศ. 1900 การผลิตก๊าซคลอรีนในช่วงนี้ ใช้เซลไฟฟ้าระบบปรอท (Mercury Electrolytic Cell) และระบบได้อะแฟรม (Diaphragm Electrolytic Cell)
ค.ศ. 1923 มีการนำก๊าซคลอรีนมาใช้ในระบบบำบัดน้ำเสียเป็นครั้งแรกที่มลรัฐเพนซิลวาเนียร์
ค.ศ. 1930 อุตสาหกรรมเคมีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ได้มีการนำคลอรีนมาใช้งานอย่างกว้างขวางนอกเหนือจากคุณประโยชน์ในด้านการฟอกสีและฆ่าเชื้อโรคในน้ำ
ปัจจุบันคลอรีน ถูกนำมาใช้ประโยชน์มากมาย เช่น ใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตพลาสติก PVC (Polyvinyl Chloride) ใช้ผลิตน้ำยาทำความสะอาดเสื้อผ้า เป็นส่วนประกอบของเคมีกำจัดศัตรูพืชจำพวก ออร์กาโนคลอรีน
lime ปูนขาว ไลม์ (lime)
ปูนไลม์ (Lime) หมายถึง ปูนสุก (Quicklime: CaO) ปูนขาว (Hydrated lime: Ca(OH)2) และปูนไลม์ไฮดรอลิกซึ่งอยู่ในรูปลักษณะต่างๆ กันทั้งทางเคมีและกายภาพ ส่วนหินปูน (Limestone) หมายถึงหินชั้น หรือหินตะกอนที่ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)เป็นส่วนใหญ่ เมื่อนำหินปูนมาเผาจะได้ปูนสุกที่มีขนาดต่างๆ ขึ้นกับชนิดหินปูน เตาเผาที่ใช้ และวิธีปฏิบัติต่อจากการเผา เมื่อนำปูนสุกมาทำปฏิกิริยากับน้ำจะได้ คัลเซียมไฮดรอกไซด์ ส่วนที่เป็นผงแห้งก็คือปูนขาว และส่วนที่เป็นสารแขวนลอยก็คือน้ำปูนไลม์ (Milk of lime)ปูนไลม์สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในหลายด้านเช่น ด้านการเกษตร ปูนไลม์ช่วยปรับค่าความเป็นกรด-ด่างในดิน ทำให้แบคทีเรียบางชนิดในดินเปลี่ยนไนโตรเจนให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ และช่วยยับยั้งจุลินทรีย์ที่ให้โทษซึ่งชอบเจริญในดินกรด รวมทั้งช่วยปรับโครงสร้างดินให้ร่วนไถพรวนได้ง่ายขึ้น มาตรฐานปูนไลม์ที่ใช้ในการเกษตรคือ มอก. 223-2520
เรื่องวัสดุพวกปูนไลม์เพื่อการเกษตร
ด้านการบำบัดน้ำ ช่วยแก้น้ำกระด้าง
วันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2555
alum สารส้ม
สารส้ม Ammonium alum และ Potassium alum คือ เกลือเชิงซ้อนของสารประกอบที่มี ธาตุ อะลูมิเนียม และ ซัลเฟต เป็นส่วนประกอบหลัก หรือ รู้จักกันในนามว่าสารส้ม (alum) หรือ ผลึกเกลือ มีสูตรทางเคมีทั่วไปคือ [M( l )M,( l l l ) (SO4)2 . 12H2O] ดังนั้นสารใดที่มีโครงสร้างของสูตรทางเคมี ที่กล่าวมา มันก็คือสารส้มที่เรารู้จักและคุ้นเคยนั้นเอง
สารส้ม (alum) พบว่าเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหลายแห่ง โดยเฉพาะบริเวณที่เคยเป็นภูเขาไฟ มาก่อน การนำมาใช้บางแห่งต้องสกัดออกมาจากดิน เช่นเดียวกับการทำเกลือสินเธาว์บางแห่งผลิตจากแร่ส้มหิน (alunite, alumstone หรือ alunrock)โดยนำมาเผาเมื่อละลายจึงนำไปตกตะกอน หรือแร่อี่น ๆ ที่มี อลูมิเนียม(aluminum)เป็นองค์ประกอบ ในประเทศไทยชาวบ้านเรียกว่า ดินส้ม พบอยู่หลายจังหวัดมีมากที่จังหวัดเลย แต่สารส้มที่พบตามธรรมชาติ มีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ มนุษย์จึงต้องคิดค้นวิธีการผลิตขึ้นมาเอง โดยนำเอาแร่ธาตุจากธรรมชาติที่มีปริมาณอะลูมินาสูงเป็นวัตถุดิบได้สำเร็จ และผลิตเป็นการค้า มาจนถึงปัจจุบัน สารส้ม (alum) มีประโยชน์และมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันมาก แต่ไม่ค่อยมีใครได้นึกถึง เพราะไม่ค่อยได้เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น น้ำประปาที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ต้องอาศัยสารส้มทำให้ใส ใช้ในอุตสากรรม กระดาษ ฟอกหนัง ย้อมผ้า ฟอกสี ทำผงฟู และ ยา เป็นต้น
น้ำที่แกว่งสารส้มแล้วจะยังใช้ดื่มไม่ได้ แต่ก็นำมาใช้อาบน้ำ ซักเสื้อผ้า ล้างจานชามได้และน้ำที่แกว่งสารส้มแล้วสามารถนำมาต้มฆ่าเชื้อโรค แล้วนำมาใช้ดื่ม หรือทำอาหารรับประทานได้ ถ้าไม่แน่ใจว่าจะสะอาดพอหรือยังก็ควรนำน้ำที่แกว่งสารส้มแล้ว มาผ่านเครื่องกรองน้ำอีกชั้นหนึ่ง
วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
Graciousness the immeasurably 'theory of the flood'.พระมหากรุณาฯล้นพ้น'ทฤษฎีแก้น้ำท่วม'
พระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีต่อพสกนิกรไทยใต้เบื้องพระยุคลบาท เป็นที่ประจักษ์ชัดมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ซึ่งกับสถานการณ์น้ำท่วมใหญ่ในหลายพื้นที่ที่เกิดขึ้นในปีนี้ แม้พระองค์จะยังทรงประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราช แต่ก็ทรงเปี่ยมพระเมตตา ทรงติดตามสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้น และพระราชทานแนวพระราชดำริแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาให้ประชาชนได้น้อมรับพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงห่วงสถานการณ์น้ำ” ...เป็นการเปิดเผยของทางกรมชลประทาน เมื่อวันที่ 26 ต.ค. ที่ผ่านมา ซึ่งก็สะท้อนชัดเจนถึงพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีต่อพสกนิกรไทย โดยเฉพาะกับ “ปัญหาเรื่องน้ำ น้ำท่วม-น้ำแล้ง
ทั้งนี้ ที่ผ่านมาจนปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระเมตตาพระราชทานแนวพระราชดำริเพื่อการแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำมาโดยตลอด ซึ่งรวมถึง ทฤษฎีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตามแนวทาง การบริหารจัดการด้านน้ำท่วมล้น (Flood Management) ซึ่งเป็นอีกหนึ่งโครงการที่แสดงถึงสายพระเนตรที่ยาวไกล พระปรีชาสามารถ และพระมหากรุณาธิคุณ ต่อพสกนิกรไทย
สำหรับทฤษฎีดังกล่าวนี้ ข้อมูลของมูลนิธิชัยพัฒนาอธิบายไว้ดังนี้คือ เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตมรสุม มีฝนตกชุกและปริมาณน้ำฝนสูง จึงเกิดปัญหาน้ำท่วมในหลายพื้นที่เกือบทุกภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระปริวิตกห่วงใยในปัญหาที่เกิดขึ้น ทรงวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ที่ประสบปัญหา และทรงคำนึงถึงการเลือกใช้วิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพท้องที่และเจ้าหน้าที่ ด้วยวิธีการต่าง
The fluoride in the game.มารู้จักฟลูออไรด์ กันเถอะ
ฟลูออไรด์ ( Fluoride ) สัญญลักษณ์ทางเคมีคือ F


เป็นสารประกอบของฟลูออรีน เป็นสารที่จำเป็นสำหรับคนเรา แต่ต้องได้รับในปริมาณที่เหมาะสม จึงจะเกิดประโยชน์ ฟลูออไรด์จะช่วยทำให้เคลือบฟันและกระดูกให้แข็งแรง ไม่ผุง่าย จึงมีการให้สารฟลูออไรด์แก่เด็ก แต่ถ้าได้รับมากเกินไปจะทำให้ฟันเป็นจุดดำ และกระดูกผุได้ ฟลูออไรด์ในน้ำเกิดจากแร่ฟลูออไรด์ ( CaF2 ) ในหินอัคนี และหินแปรที่มีฟลูออไรด์เป็นองค์ประกอบฟลูออไรด์ที่ร่างกายได้รับอาจมาจากหลายทางเช่น จากน้ำดื่ม อาหาร ผลไม้ ยาสีฟัน วิตามินรวม ยาเม็ดฟลูออไรด์ เป็นต้น ฟลูออไรด์ที่ได้รับจากอาหารหรือน้ำดื่ม ฯลฯ นี้ จะถูกดูดซึมในทางเดินอาหาร เกือบหมด แต่เมื่อฟลูออไรด์ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดแล้วจะพบว่าร้อยละ 50 จะถูกขับถ่ายที่ไต ที่เหลือส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ที่กระดูกและฟัน การได้รับฟลูออไรด์ ที่พอเหมาะจะป้องกันไม่ให้เกิดโรคฟันผุ เช่นฟลูออไรด์ในน้ำที่มีอยู่ประมาณ 0.5 ppm หรือ มิลลิกรัม/น้ำ1ลิตร ทำให้โรคฟันผุลดลง แต่ในขณะเดียวกัน ถ้าได้รับปริมาณฟลูออไรด์สูงเกินไป จะทำให้เกิดการสะสมในฟัน เกิดลักษณะฟันตกกระ ( dental fluorosis ) และถ้าปริมาณฟลูออไรด์สูงขึ้นไปอีก จะเกิดโรคทางกระดูกเรียกว่า skeletal fluorosis อย่างไรก็ตามปริมาณฟลูออไรด์ในปริมาณที่มากพอเหมาะจะใช้รักษาคนเป็นโรคกระดูกพรุนได้ โดยใช้ร่วมกับแคลเซียม และฮอร์โมนอีสโทรเจน แต่ในการรักษาโดยวิธีนี้ ยังไม่เป็นข้อยุติที่ชัดเจน
เป็นสารประกอบของฟลูออรีน เป็นสารที่จำเป็นสำหรับคนเรา แต่ต้องได้รับในปริมาณที่เหมาะสม จึงจะเกิดประโยชน์ ฟลูออไรด์จะช่วยทำให้เคลือบฟันและกระดูกให้แข็งแรง ไม่ผุง่าย จึงมีการให้สารฟลูออไรด์แก่เด็ก แต่ถ้าได้รับมากเกินไปจะทำให้ฟันเป็นจุดดำ และกระดูกผุได้ ฟลูออไรด์ในน้ำเกิดจากแร่ฟลูออไรด์ ( CaF2 ) ในหินอัคนี และหินแปรที่มีฟลูออไรด์เป็นองค์ประกอบฟลูออไรด์ที่ร่างกายได้รับอาจมาจากหลายทางเช่น จากน้ำดื่ม อาหาร ผลไม้ ยาสีฟัน วิตามินรวม ยาเม็ดฟลูออไรด์ เป็นต้น ฟลูออไรด์ที่ได้รับจากอาหารหรือน้ำดื่ม ฯลฯ นี้ จะถูกดูดซึมในทางเดินอาหาร เกือบหมด แต่เมื่อฟลูออไรด์ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดแล้วจะพบว่าร้อยละ 50 จะถูกขับถ่ายที่ไต ที่เหลือส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ที่กระดูกและฟัน การได้รับฟลูออไรด์ ที่พอเหมาะจะป้องกันไม่ให้เกิดโรคฟันผุ เช่นฟลูออไรด์ในน้ำที่มีอยู่ประมาณ 0.5 ppm หรือ มิลลิกรัม/น้ำ1ลิตร ทำให้โรคฟันผุลดลง แต่ในขณะเดียวกัน ถ้าได้รับปริมาณฟลูออไรด์สูงเกินไป จะทำให้เกิดการสะสมในฟัน เกิดลักษณะฟันตกกระ ( dental fluorosis ) และถ้าปริมาณฟลูออไรด์สูงขึ้นไปอีก จะเกิดโรคทางกระดูกเรียกว่า skeletal fluorosis อย่างไรก็ตามปริมาณฟลูออไรด์ในปริมาณที่มากพอเหมาะจะใช้รักษาคนเป็นโรคกระดูกพรุนได้ โดยใช้ร่วมกับแคลเซียม และฮอร์โมนอีสโทรเจน แต่ในการรักษาโดยวิธีนี้ ยังไม่เป็นข้อยุติที่ชัดเจน
Beware of Lead in Water.ระวังสารตะกั่วในเครื่องทำน้ำเย็น
ทราบหรือไม่ว่าในเครื่องทำน้ำเย็นที่ใช้กันอยู่เป็นประจำ อาจจะมีสารตะกั่วปนอยู่ด้วย ???
ปัจจุบันเครื่องทำน้ำเย็นไม่เพียงใช้กันในที่สาธารณะอย่างโรงเรียน โรงพยาบาลหรือที่ทำงานเท่านั้น บางบ้านยังมีใช้กันเลย กลายเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ และในเครื่องทำน้ำเย็นอาจเป็นตัวปล่อยสารตะกั่วที่น่ากลัว เพราะในเครื่องทำน้ำเย็นมีการบัดกรีบริเวณมุมขอบภายในเครื่องด้วยตะกั่ว การเชื่อมถังน้ำดื่ม การขึ้นรูปเครื่อง การเชื่อมลูกลอยกับก้านส่วนที่สัมผัสกับน้ำดื่ม และการบัดกรีท่อจ่ายน้ำดื่ม ทั้งหมดล้วนเป็นโอกาสและสาเหตุที่ทำให้เกิดสารตะกั่วปนเปื้อนในน้ำดื่ม


ปัจจุบันเครื่องทำน้ำเย็นไม่เพียงใช้กันในที่สาธารณะอย่างโรงเรียน โรงพยาบาลหรือที่ทำงานเท่านั้น บางบ้านยังมีใช้กันเลย กลายเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ และในเครื่องทำน้ำเย็นอาจเป็นตัวปล่อยสารตะกั่วที่น่ากลัว เพราะในเครื่องทำน้ำเย็นมีการบัดกรีบริเวณมุมขอบภายในเครื่องด้วยตะกั่ว การเชื่อมถังน้ำดื่ม การขึ้นรูปเครื่อง การเชื่อมลูกลอยกับก้านส่วนที่สัมผัสกับน้ำดื่ม และการบัดกรีท่อจ่ายน้ำดื่ม ทั้งหมดล้วนเป็นโอกาสและสาเหตุที่ทำให้เกิดสารตะกั่วปนเปื้อนในน้ำดื่ม
วันอังคารที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2555
Water and wastewater treatment. น้ำเสียและการบำบัดน้ำเสีย
น้ำ เป็น |
วันจันทร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2555
To kill germs in water การฆ่าเชื้อโรคในน้ำ
ดุลยธรรม ทวิชสังข์
วิศวกร 6ว
เจริญชัย จิรชัยรัตนสิน
วิศวกร 5
วิศวกร 6ว
เจริญชัย จิรชัยรัตนสิน
วิศวกร 5
กระบวนการขั้นสุดท้ายในการผลิตน้ำประปา คือการฆ่าเชื้อโรคในน้ำ ซึ่งมีด้วยกัน 2 วิธี คือ
1. Disinfection หมายถึงการฆ่าจุลินทรีย์ซึ่งเป็นต้นเหตุของโรคต่างๆ
2. Sterilization Disinfection หมายถึงการทำลายจุลินทรีย์ทุกชนิดที่อยู่ในน้ำ
วันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
How to collect rainwater to drink. เก็บน้ำฝนอย่างไรให้ดื่มได้
วิศวกร 5
ไพรัช แก้วจินดา
พนักงานตรวจทานข้อมูล
โดยปกติในช่วงหน้าฝนปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมามีเป็นจำนวนมาก เรามักเคยชินกับการรองเก็บน้ำฝนจากรางรับน้ำฝนที่ต่อจากหลังคาบ้านโดยไม่สนใจว่าบนหลังคาหรือในรางรับน้ำฝนจะมีอะไรอยู่บ้าง การรองเก็บน้ำฝนในลักษณะดังกล่าวนี้ จะทำให้มีฝุ่นผง เศษใบไม้ มูลสัตว์ ฯลฯ ตกตะกอนนอนอยู่ที่ก้นโอ่งหรือก้นถังเป็นจำนวนมาก และเมื่อนานวันเข้าเศษสิ่งสกปรกต่างๆ ดังกล่าวที่หมักหมมอยู่จะเกิดการย่อยสลายทำให้น้ำเน่าเสียมีกลิ่นเหม็น และหากนำไปใช้ดื่มกินก็อาจทำให้เกิดเจ็บป่วยด้วยโรคของระบบทางเดินอาหารที่มีน้ำเป็นสื่อได้
แล้วจะทำอย่างไร.....จึงจะลดเศษสิ่งสกปรกเหล่านั้นได้ ???
ไพรัช แก้วจินดา
พนักงานตรวจทานข้อมูล
โดยปกติในช่วงหน้าฝนปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมามีเป็นจำนวนมาก เรามักเคยชินกับการรองเก็บน้ำฝนจากรางรับน้ำฝนที่ต่อจากหลังคาบ้านโดยไม่สนใจว่าบนหลังคาหรือในรางรับน้ำฝนจะมีอะไรอยู่บ้าง การรองเก็บน้ำฝนในลักษณะดังกล่าวนี้ จะทำให้มีฝุ่นผง เศษใบไม้ มูลสัตว์ ฯลฯ ตกตะกอนนอนอยู่ที่ก้นโอ่งหรือก้นถังเป็นจำนวนมาก และเมื่อนานวันเข้าเศษสิ่งสกปรกต่างๆ ดังกล่าวที่หมักหมมอยู่จะเกิดการย่อยสลายทำให้น้ำเน่าเสียมีกลิ่นเหม็น และหากนำไปใช้ดื่มกินก็อาจทำให้เกิดเจ็บป่วยด้วยโรคของระบบทางเดินอาหารที่มีน้ำเป็นสื่อได้
แล้วจะทำอย่างไร.....จึงจะลดเศษสิ่งสกปรกเหล่านั้นได้ ???
RIP Whitney Houston ขอไวอาลัยกับการจากไปของ วิทนีย์ ฮูสตัน
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานข่าวช็อควงการเพลง ว่า วิทนีย์ ฮูสตัน นักร้องสาวเสียงคุณภาพ และดาราเจ้าบทบาทสัญชาติอเมริกัน เสียชีวิตแล้วด้วยวัย 48 ปี เมื่อวันเสาร์ที่ 11 ก.พ. โดยยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
เป็นนักร้องคุณภาพบทเพลงที่ผู้เขียนชื่นชอบ ขอไวอาลัยมาณ.ที่นี้ด้วย
เป็นนักร้องคุณภาพบทเพลงที่ผู้เขียนชื่นชอบ ขอไวอาลัยมาณ.ที่นี้ด้วย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)